การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์

                                       วรพร อร่ามรักษ

การเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์
        เครื่องราชอิสริยาภรณ์เป็นเครื่องหมายแห่งเกียรติยศ ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรง
พระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานแก่ผู้กระทำความดีความชอบเป็นประโยชน์แก่ราชการ
หรือสาธารณชน
        เครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่พระมหากษัตริย์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม
พระราชทานแก่ข้าราชการและลูุกจ้างประจำเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์สำหรับบำเหน็จ
ความชอบในราชการแผ่นดิน

ลำดับชั้นตราของเครื่องอิสริยาภรณ์มงกุฎไทยและช้างเผือก  ตามลำดับจากชั้นตราเริ่มต้น
ไปจนถึงชั้นตราสูงสุดมี 16 ชั้นตรา ดังนี้

 
                 1) ชั้นที่ 7 เหรียญเงินมงกุฎไทย (ร.ง.ม.)
                 2) ชั้นที่ 7 เหรียญเงินช้างเผือก (ร.ง.ช.)
                 3) ชั้นที่ 6 เหรียญทองมงกุฎไทย (ร.ท.ม.)
                 4) ชั้นที่ 6 เหรียญทองช้างเผือก (ร.ท.ช.)
                 5) ชั้นที่ 5 เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย (บ.ม.)
                 6) ชั้นที่ 5 เบญจมาภรณ์ช้างเผือก (บ.ช.)
                 7) ชั้นที่ 4 จัตุรถาภรณ์มงกุฎไทย (จ.ม.)
                 8) ชั้นที่ 4 จัตุรถาภรณ์ช้างเผือก (จ.ช.)
                 9) ชั้นที่ 3 ตริตาภรณ์มงกุฎไทย (ต.ม.)
                 10) ชั้นที่ 3 ตริตาภรณ์ช้างเผือก (ต.ช.)
                 11) ชั้นที่ 2 ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย (ท.ม.)
                 12) ชั้นที่ 2 ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก (ท.ช.)
                 13) ชั้นที่ 1 ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.)
                 14) ชั้นที่ 1 ประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.)
                 15) ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) และ
                 16) ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)

คุณสมบัติของบุคคลที่พึงได้รับการพิจารณาเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์
     
1. เป็นผู้มีสัญชาติไทย
     
2. เป็นผู้ประพฤติดี และปฏิบัติงานราชการหรือปฏิบัติงานที่เป็นประโยชน์ต่อ
สาธารณชนด้วยความอุตสาหะ ซื่อสัตย์ และเอาใจใส่ต่อหน้าที่อย่างดียิ่งและ
     3. เป็นผู้ไม่เคยมีพระบรมราชานุญาตให้เรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ หรือต้อง
รับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่เป็นโทษสำหรับความผิดที่ได้กระทำโดย
ประมาทหรือความผิดลหุโทษ

ชั้นตำ่กว่าสายสะพาย

ระดับตำแหน่ง
เงิื่อนไขการขอ
ระยะเวลา
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
(ซี)
 
(ปี)
ที่ขอพระราชทาน
 
 
 
(ชั้นตรา)
ซี. 1 + ซี. 2 บรรจุใหม่และดำรงตำแหน่ง
5
บ.ม.
ซี. 2 บรรจุใหม่และดำรงตำแหน่ง
5
บ.ช.
ซี. 3, ซี. 4 ดำรงตำแหน่งเนื่องจาก
เว้น 1 ปี
จ.ม.
  เลื่อนระดับ
จากชั้นตรา
  
   
สุดท้าย
 
หรือ    
 
ซี.1 + ซี.2 + ซี.3 ดำรงตำแหน่งตั้งแต่เริ่ม
5
จ.ม.
  บรรจุและได้เลื่อนระดับสูงขึ้น
 
 
หรือ  
 
 
ซี. 2 + ซี. 3
"......................................................."
5
จ.ม.
หรือ  
 
 
ซี.1 + ซี.2 + ซ.ี3 +
"......................................................."
5
จ.ม.
ซี. 4
 
 
 
ซี. 3, ซี. 4 บรรจุใหม่และดำรงตำแหน่ง
5
จ.ช.
หรือ  
 
 
ซี. 3 + ซี. 4 ดำรงตำแหน่งตั้งแต่เริ่ม
5
จ.ช.
  บรรจุและได้เลื่อนระดับสูงขึ้น
 
 
ซี. 5, ซี. 6 ดำรงตำแหน่งเนื่องจากเลื่อน
เว้น 1 ปี
ต.ม.
  ระดับ
จากชั้นตรา
 
หรือ  
 สุดท้าย
 
ซี.1 + ซี.2 + ซี.3 + ดำรงตำแหน่งตั้งแต่เริ่มบรรจุ
5
ต.ม.
ซี.4 + ซี.5 และได้เลื่อนระดับสูงขึ้น
 
 
หรือ  
 
 
ซี.2 + ซี.3 + ซี.4 + ดำรงตำแหน่งตั้งแต่เริ่มบรรจุ
5
ต.ม.
ซี.5 และได้เลื่อนระดับสูงขึ้น
 
 
หรือ  
 
 
ซี.3 + ซี.4 + ซี.5 ดำรงตำแหน่งตั้งแต่เริ่มบรรจุ
5
ต.ม.
  และได้เลื่อนระดับสูงขึ้น
 
 
หรือ  
 
 
ซี. 4 + ซี. 5
"......................................................."
5
ต.ม.
ซี. 5, ซี. 6 บรรจุใหม่และดำรงตำแหน่ง
5
ต.ช.
หรือ  
 
 
ซี. 5 + ซี. 6 ดำรงตำแหน่งตั้งแต่เริ่มบรรจุ
5
ต.ช.
  และได้เลื่อนระดับสูงขึ้น
 
 
ซี. 7, ซี. 8 ดำรงตำแหน่งเนื่องจากเลื่อน
เว้น 1 ปี
ท.ม.
  ระดับ
จากชั้นตรา
 
   
สุดท้าย
  
หรือ  
 
 
ซี.3 + ซี.4 + ซี.5 + ดำรงตำแหน่งตั้งแต่เริ่มบรรจุ
5
ท.ม.
ซี.6 + ซี. 7 และได้เลื่อนระดับสูงขึ้น
 
 
หรือ  
 
 
ซี.4 + ซี.5 + ซี.6 +
"......................................................."
5
ท.ม.
ซี.7  
 
 
หรือ  
 
 
ซี.5 + ซี.6 + ซี.7
"......................................................."
5
ท.ม.
หรือ   
  
  
ซี. 6 + ซี. 7
"......................................................."
5
ท.ม.
ซี. 7, ซี. 8 บรรจุใหม่และดำรงตำแหน่ง
5
ท.ช.
หรือ   
  
  
ซี. 7 + ซี. 8 ดำรงตำแหน่งตั้งแต่เร่ิมบรรจุ
5
ท.ช.
  และได้เลื่อนระดับสูงขึ้น
  
  
ซี. 8 1. ได้รับเงินเดือนเต็มขั้น
-
ป.ม.
   2. ดำรงตำแหน่งบังคับบัญชา
-
  
   3. ได้ ท.ช. มาแล้วไม่น้อยกว่า
5
  
    5 ปีบริบูรณ์
   
  
   4. ให้ขอได้ในปีก่อนปีที่จะ
-
  
     เกษียณอายุราชการเท่านั้น
  
  
ซี. 9 1. ได้ ท.ช.
3
ป.ม.
   2. ได้ ป.ม.
3
ป.ช.
   3. ได้ ป.ช.
5
ม.ว.ม.
   4. ในปีที่เกษียณอายุราชการ
-
 
     ให้ขอสูงขึ้นอีก 1 ชั้นตรา
  
  
     แต่ไม่เกิน ป.ช. เว้น
  
  
     กรณีลาออก
  
  
ซี. 10 1. เลื่อนได้ถึง ป.ม.
ทุกปี
ป.ม.
   2. ได้ ป.ม.
3
ป.ช.
   3. ได้ ป.ช.
3
ม.ว.ม.
   4. ได้ ม.ว.ม
5
ม.ป.ช.
   5. ในปีที่เกษียณอายุราชการ
  
  
     ให้ขอสูงขึ้นอีก 1 ชั้นตรา
  
  
     แต่ไม่เกิน ม.ว.ม. เว้น
  
  
     กรณีลาออก
  
  
ซี. 11 1. ได้ ป.ม.
3
ป.ช.
   2. ได้ ป.ช.
3
ม.ว.ม.
   3. ได้ ม.ว.ม.
3
ม.ป.ช.
   4. ในปีที่เกษียณอายุราชการ
  
  
     ให้ขอสูงขึ้นอีก 1 ชั้นตรา
  
  
     เว้นกรณีลาออก
  
  

     นอกจากนี้ข้าราชการฝ่ายพลเรือนที่รับราชการมาด้วยความเรียบร้อยเป็นเวลาไม่น้อยกว่า
25 ปี และต้องมิได้เป็นข้าราชการวิสามัญจะได้รับการเสนอขอพระราชทาน เหรียญจักรพรรดิมาลา
     การนับเวลาเพื่อขอพระราชทานเหรียญจักรพรรดิมาลาให้นับเวลาราชการทั้งหมดรวมกัน
เช่น นาย ก. ได้รับการบรรจุเป็นข้าราชการสามัญ เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2510 ต่อมาได้
ลาออกจากราชการ เมื่อวันที่ 13 มกราคม  2530 และได้บรรจุกลับเข้ารับราชการเมื่อวันที่ 13 มกราคม 2532 จะเสนอขอพระราชทานเหรียญจักรพรรดิมาลาในปี 2535ให้ไม่ได้เนื่องจาก   มีเวลารับราชการแค่ 23 ปีกว่า และรับราชการไม่ครบ 25 ปี
     หากเข้ารับราชการก่อนอายุครบ 18 ปีบริบูรณ์ ให้นับตั้งแต่วันอายุครบ 18 ปีบริบูรณ์
เป็นต้นไป

เงื่อนไขและระยะเวลาการเลื่อนชั้นตราให้แก่ลูกจ้างประจำ ตามบัญชีพระราชบัญญัติ
สำนักนายกรัฐมนตรี ว่่าด้วยการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและ
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย พ.ศ. 2536

 
 
 
ระยะเวลา
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
ตำแหน่ง 
อัตราค่าจ้าง 
เงื่อนไขการขอ 
(ปี)
ที่ขอพระราชทาน
  
  
  
  
(ชั้นตรา)
ลูกจ้างประจำทีี่มีชื่อ ตั้งแต่อัตราเงินเดือน ดำรงตำแหน่ง
8
บ.ม.
และลักษณะงานเป็น ขั้นต่ำของข้าราชการ ตั้งแต่เริ่ม    
ลูกจ้าง โดยตรง พลเรือน ระดับ 3 บรรจุและ    
หมวดฝีมือ หรือ แต่ไม่ถึงขั้นต่ำของ ได้รับค่าจ้าง    
ลูกจ้างประจำที่มีชื่อ อัตราเงินเดือน ตั้งแต่ขั้นต่ำ    
และลักษณะงาน ข้าราชการพลเรือน ของข้าราชการ    
เหมือนข้าราชการ ระดับ 6 (ขั้น 6,020 พลเรือน    
  บาท แต่ไม่ถึง ระดับ 3    
  ขั้น 11,120 บาท      
"..........................."
-
บ.ม.
5
บ.ช.
"..........................."
-
บ.ช.
5
จ.ม.
"..........................."
ตั้งแต่อัตราเงินเดือน ได้รับค่าจ้าง เว้น 1 ปี
บ.ช.
  ขั้นต่ำของข้าราชการ ตั้งแต่ขั้นตำ่ จาก  
  พลเรือน ระดับ 6 ของข้าราชการ ชั้นตรา  
  ขึ้นไป พลเรือนระดับ ครั้งสุดท้าย  
    6 ขึ้นไป    
"..........................."
-
ได้ บ.ช.
5
จ.ม.
"..........................."
-
ได้ จ.ม.
5
จ.ช.

     ผู้ที่จะได้รับการเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ดังกล่าวข้างต้นจะต้อง
ปฏิบัติราชการติดต่อกันและได้รับค่าจ้างตามที่กำหนดก่อนวันพระราชทานพิธีเฉลิมพระชนม
พรรษาของปีที่จะขอพระราชทานไม่น้อยกว่า 60 วัน (ภายในวันที่ 6 ตุลาคม ของปีที่ขอ
พระราชทาน) หากลูกจ้างประจำใดได้ขอลาออกจากราชการก่อนครบ 8 ปีบริบูรณ์ จะนับ
ระยะเวลาเพื่อเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้ครบ 8 ปีบริบูรณ์ตั้งแต่วันที่
บรรจุกลับเข้ารับราชการใหม่

รายชื่อ ตำแหน่งลูกจ้างประจำที่มีชื่อและลักษณะงานเป็นลูกจ้างโดยตรงหมวดฝีมือ
และสูงกว่า
ได้แก่
          1. ช่างไม้
          2. ช่างสี
          3. ช่างปูน
          4. ช่างเหล็ก
          5. ช่างท่อ
          6. ช่างฝีมือโรงงาน
          7. พนักงานขับรถยนต์
          8. พนักงานขับรถแทรกเตอร์
          9. ผู้ดูแลเรือนรุกขรังสี
          10. พนักงานผู้ช่วยผลิตทดลอง
          11. พนักงานพิมพ์ดีดชั้น 2
หมวดฝีมือพิเศษ (ระดับต้น)
          1. พนักงานผลิตทดลอง
          2. พนักงานพิมพ์ดีดชั้น 3   
หมวดฝีมือพิเศษ (ระดับกลาง)
          1. พนักงานพิมพ์ดีดชั้น 4


รายชื่อ ตำแหน่งลูกจ้างประจำและลักษณะงานเหมิือนข้าราชการ ได้แก่
          1. ช่างเชื่อม
          2. ช่างประปา
          3. ช่างเครื่องมือกล
          4. ช่างเครื่องยนต์ชั้น 2
          5. ช่างเครื่องยนต์ชั้น 1
          6. ช่างไฟฟ้าชั้น 2
          7. ช่างไฟฟ้าชั้น 1
          8. ช่างภาพ
          9. ช่างศิลป์
          10. พนักงานอัดสำเนา
          11. พนักงานห้องทดลองชั้น 1
          12. พนักงานธุรการชั้น 1 - ชั้น 3
          13. พนักงานพัสดุ ชั้น 1 - ชั้น 3
          14. พนักงานโสตทัศนศึกษา
          15. อาจารย์ผู้สอน
          16. เสมียน

การส่งคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์
     ผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ จะต้องส่งเครื่องราชอิสริยาภรณ์คืน
ในกรณีดังต่อไปนี้
     1. เมื่อทรงเรียกคืน ต้องคืนพร้อมประกาศนียบัตร
     2. เมื่อได้รับพระราชทานขั้นสูงขึ้น ต้องส่งคืนชั้นรอง แต่ไม่ต้องคืนประกาศนียบัตร
เช่น ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้น จ.ม. ให้ส่งคืนเครื่องราชฯ ชั้น บ.ม.
     3. เมื่อวายชนม์ ไม่ต้องคืนประกาศนียบัตร
       สำหรับผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชฯ มีความประสงค์ที่จะส่งคืนเครื่องราชฯ
ที่ไม่ได้ใช้แล้ว ให้นำส่งคืนได้ในหน่วยงานที่รับผิดชอบ (กองการเจ้าหน้าที่ มก.)
       กรณีที่ไม่สามารถส่งคืนเครื่องราชฯ ได้หรือไม่มีเครื่องราชฯ ส่งคืน ก็ให้ชดใช้
ราคาตามที่ทางราชการกำหนด ซึ่งจะมีปรับราคาใหม่ทุก 3 ปี ราคาที่ปรับครัั้งสุดท้าย เมื่อ
1 มี.ค. 36 ตามรายละเอียดที่แนบ

บัญชีราคาชดใช้แทนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่ไม่สามารถส่งคืนตามพระราชบัญญัติฯ
ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2545 เป็นต้นไป

ลำดับ
รายการเครื่องราชอิสริยาภรณ์
ราคาคืน/บาท
หมายเหตุ
 
เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า
 
 
 
ผ่ายหน้า
 
 
1
ปฐมจุลจอมเกล้า
1,520,000
 
2
ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ
167,514
 
3
ทุติยจุลจอมเกล้า
112,306
 
4
ตติยจุลจอมเกล้าวิเศษ
81,898
 
5
ตติยจุลจอมเกล้า
81,680
 
6
ตติยานุจุลจอมเกล้า
22,724
 
 
ผ่ายใน
 
 
7
ปฐมจุลจอมเกล้า
588,000
 
8
ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ
100,398
 
9
ทุติยจุลจอมเกล้า
80,694
 
10
ตติยจุลจอมเกล้า
71,368
 
11
จตุตถจุลจอมเกล้่า
23,818
 
 
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ฯ ช้างเผือก
 
 
12
มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก บุรุษ
17,724
 
13
มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก สตรี
15,654
 
14
ประถมาภรณ์ช้างเผือก บุรุษ
12,470
 
15
ประถมาภรณ์ช้างเผือก สตรี
11,116
 
16
ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก บุรุษ
7,838
 
17
ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก สตรี
7,072
 
18
ตริตาภรณ์ช้างเผือก บุรุษ
3,128
 
19
ตริตาภรณ์ช้างเผือก สตรี
2,930
 
20
จัตุรถาภรณ์ช้างเผือก บุรุษ
1,748
 
21
จัตุรถาภรณ์ช้างเผือก สตรี
1,876
 
22
เบญจมาภรณ์ช้างเผือก บุรุษ
1,668
 
23
เบญจมาภรณ์ช้างเผือก สตรี
1,766
 
24
เหรียญทองช้างเผือก บุรุษ
944
 
25
เหรียญทองช้างเผือก สตรี
1,004
 
26
เหรียญเงินช้างเผือก บุรุษ
916
 
27
เหรียญเงินช้างเผือก สตรี
976
 
 
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ฯ มงกุฎไทย
 
 
28
มหาวชิรมงกุฎ บุรุษ
30,918
 
29
มหาวชิรมงกุฎ สตรี
26,320
 
30
ประถมาภรณ์มงกุฎไทย บุรุษ
11,302
 
31
ประถมาภรณ์มงกุฎไทย สตรี
9,868
 
32
ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย บุรุษ
7,830
 
33
ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย สตรี
6,548
 
34
ตริตาภรณ์มงกุฎไทย บุรุษ
3,048
 
35
ตริตาภรณ์มงกุฎไทย สตรี
2,728
 
36
จัตุรถาภรณ์มงกุฎไทย บุรุษ
1,748
 
37
จัตุรถาภรณ์มงกุฎไทย สตรี
1,876
 
38
เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย บุรุษ
1,668
 
39
เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย สตรี
1,766
 
40
เหรียญทองมงกุฎไทย บุรุษ
858
 
41
เหรียญทองมงกุฎไทย สตรี
920
 
42
เหรียญเงินมงกุฎไทย บุรุษ
832
 
43
เหรียญเงินมงกุฎไทย สตรี
892
 
 
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ฯ ดิเรกคุณาภรณ์
 
 
44
ปฐมดิเรกคุณาภรณ์ บุรุษ
11,522
รายการที่ 44-57
45
ปฐมดิเรกคุณาภรณ์ สตรี
10,254
ผู้ได้รับพระราชทาน
46
ทุติยดิเรกคุณาภรณ์ บุรุษ
7,852
หรือทายาทต้องส่งคืน
47
ทุติยดิเรกคุณาภรณ์ สตรี
6,928
ตามพระราชบัญญัติฯ
48
ตติยดิเรกคุณาภรณ์ บุรุษ
3,426
เฉพาะชั้นรอง
49
ตติยดิเรกคุณาภรณ์ สตรี
3,186
หากไม่อาจส่งคืน
50
จตุตถดิเรกคุณาภรณ์ บุรุษ
2,348
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
51
จตุตถดิเรกคุณาภรณ์ สตรี
2,408
ได้ ให้ชดใช้ราคาตามที่
52
เบญจมดิเรกคุณาภรณ์ บุรุษ
2,334
กำหนด
53
เบญจมดิเรกคุณาภรณ์ สตรี
2,394
 
54
เหรียญทองดิเรกคุณาภรณ์ บุรุษ
1,202
 
55
เหรียญทองดิเรกคุณาภรณ์ สตรี
1,262
 
56
เหรียญเงินดิเรกคุณาภรณ์ บุรุษ
1,170
 
57
เหรียญเงินดิเรกคุณาภรณ์ สตรี
1,232
 
 
เหรียญราชอิสริยาภรณ์
 
 
58
เหรียญจักรพรรดิมาลา บุรุษ
898
รายการที่ 58-65
59
เหรียญจักรพรรดิมาลา สตรี
960
ทายาทรักษาไว้เป็นที่ระลึก
60
เหรียญจักรมาลา
932
โดยไม่ต้องส่งคืน ยกเว้น
61
เหรียญพิทักษ์เสรีชน
190
กรณีที่ได้พระราชทาน
62
เหรียญราชการชายแดน
208
พระบรมราชานุญาตให้
63
เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา ทหาร
1,000
เรียกคืน ซึ่งไม่อาจส่งคืน
64
เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา พลเรือน บุรุษ
1,000
เป็นเหรียญได้ ให้ชดใช้
65
เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา พลเรือน สตรี
1,000
ราคาแทนตามที่กำหนด